47 ภาษาไทยแรงบิดขันแน่นที่เหมาะสมส�าหรับสลักเกลียวทนแรงดึงสูง0 1 2 32N•m(kgf•cm)120(200)40(410)60(610)80(820)100(1020)120(1220)140(1430)160(1630)M12M10M8M12M10M8180(1840)1. เวลาการขันแน่น (วินาที) 2. แรงบิดขันแน่นหมายเหตุ: จับเครื่องมือให้ตรงกับสลักเกลียวหรือน็อตหมายเหตุ: การใช้แรงบิดขันแน่นมากเกินไปอาจท�าให้สลักเกลียว/น็อต หรือหัวบ็อกซ์กระแทกเสียหายได้ ก่อนเริ่มงาน ให้ท�าการทดสอบการท�างานเพื่อก�าหนดระยะเวลาการขันแน่นที่เหมาะส�าหรับหรับสลักเกลียวหรือน็อตที่คุณใช้หมายเหตุ: หากใช้งานเครื่องมืออย่างต่อเนื่องจนกระทั่งตลับแบตเตอรี่หมดไฟ ให้พักเครื่องมือไว้ประมาณ 15นาทีก่อนใส่ตลับแบตเตอรี่ที่ชาร์จไฟใหม่แรงบิดขันแน่นอาจเปลี่ยนแปลงไปขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ หลังจากขันแน่น ให้ตรวจสอบแรงบิดด้วยประแจวัดแรงบิด1. เมื่อพลังงานในตลับแบตเตอรี่ใกล้หมด แรงดันไฟฟ้าจะลดลงซึ่งท�าให้แรงบิดขันแน่นลดลง2. หัวบ็อกซ์กระแทก• การใช้หัวบ็อกซ์กระแทกขนาดไม่ถูกต้องจะท�าให้แรงบิดขันแน่นลดลง• หัวบ็อกซ์กระแทกที่ช�ารุด (สึกหรอที่ปลายหกเหลี่ยมหรือปลายสี่เหลี่ยม) จะท�าให้แรงบิดขันแน่นลดลง3. สลักเกลียว• แม้ว่าค่าสัมประสิทธิ์แรงบิดและระดับของสลักเกลียวจะเท่ากัน แต่แรงบิดขันแน่นที่เหมาะสมนั้นจะแตกต่างกันตามเส้นผ่านศูนย์กลางของสลักเกลียว• แม้ว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของสลักเกลียวจะเท่ากัน แรงบิดขันแน่นที่เหมาะสมจะแตกต่างกันตามค่าสัมประสิทธิ์แรงบิด ระดับของสลักเกลียวและความยาวของสลักเกลียว4. การใช้ข้อต่ออเนกประสงค์หรือคานต่อจะลดแรงบิดขันแน่นของประแจกระแทกลงเล็กน้อย จึงควรชดเชยแรงบิดขันแน่นที่ลดลงด้วยเวลาการขันแน่นที่นานขึ้น5. ลักษณะการจับเครื่องมือหรือเนื้อวัสดุในต�าแหน่งที่จะขันแน่นจะมีผลต่อแรงบิด6. การใช้งานเครื่องมือที่ความเร็วต�่าจะท�าให้แรงบิดขันแน่นลดลงการบ�ารุงรักษาข้อควรระวัง: ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ปิดสวิตช์เครื่องมือและถอดตลับแบตเตอรี่ออกก่อนท�าการตรวจสอบหรือบ�ารุงรักษาข้อสังเกต: อย่าใช้น�้ามันเชื้อเพลิง เบนซิน ทินเนอร์แอลกอฮอล์ หรือวัสดุประเภทเดียวกัน เนื่องจากอาจท�าให้สีซีดจาง เสียรูป หรือแตกร้าวได้เพื่อความปลอดภัยและน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ ควรให้ศูนย์บริการหรือโรงงานที่ผ่านการรับรองจาก Makita เป็นผู้ด�าเนินการซ่อมแซม บ�ารุงรักษาและท�าการปรับตั้งอื่นๆนอกจากนี้ให้ใช้อะไหล่ของแท้จาก Makita เสมอ