75 ภาษาไทยแรงบิดขันแน่นที่เหมาะสมส�าหรับสลักเกลียวทนแรงดึงสูง21M14M12M14M12M10M8M10M8200180160140120100806040200 1 2 3(2040)(1836)(1632)(1428)(1224)(1020)(816)(612)(408)(204)N•m(kgf•cm)1. เวลาการขันแน่น (วินาที) 2. แรงบิดขันแน่นจับเครื่องมือให้แน่น และวางปลายดอกไขควงที่หัวสกรูออกแรงดันเครื่องมือเพื่อไม่ให้ดอกไขควงไถลออกจากสกรูและเปิดสวิตช์เครื่องมือเพื่อเริ่มใช้งานข้อสังเกต: ถ้าคุณใช้แบตเตอรี่ส�ารองเพื่อท�างานต่อ ให้พักเครื่องมืออย่างน้อย 15 minหมายเหตุ: ใช้ดอกไขควงที่เหมาะสมกับสกรู/สลักเกลียวที่คุณต้องการใช้หมายเหตุ: เมื่อขันแน่นสกรู M8 หรือเล็กกว่า ให้เลือกแรงกระแทกที่เหมาะสมแล้วค่อยๆ ดันสวิตช์สั่งงานเพื่อไม่ให้สกรูเสียหายหมายเหตุ: จับเครื่องมือให้ตรงกับสกรูหมายเหตุ: หากใช้แรงกระแทกมากเกินไปหรือใช้เวลาขันแน่นนานกว่าที่แสดงในภาพ สกรูหรือปลายดอกไขควงอาจรับแรงมากเกินไปท�าให้เกลียวรูดหรือเสียหาย ก่อนที่จะเริ่มงาน ให้ท�าการทดสอบเพื่อก�าหนดเวลาขันแน่นที่เหมาะสมส�าหรับสกรูแรงบิดขันแน่นอาจเปลี่ยนแปลงไปขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ หลังจากขันแน่น ให้ตรวจสอบแรงบิดด้วยประแจวัดแรงบิด1. เมื่อพลังงานในตลับแบตเตอรี่ใกล้หมด แรงดันไฟฟ้าจะลดลงซึ่งท�าให้แรงบิดขันแน่นลดลง2. ดอกไขควงหรือหัวบ็อกซ์การใช้หัวบ็อกซ์ขนาดไม่ถูกต้องจะท�าให้แรงบิดขันแน่นลดลง3. สลักเกลียว• แม้ว่าค่าสัมประสิทธิ์แรงบิดและระดับของสลักเกลียวจะเท่ากัน แต่แรงบิดขันแน่นที่เหมาะสมนั้นจะแตกต่างกันตามเส้นผ่านศูนย์กลางของสลักเกลียว• แม้ว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของสลักเกลียวจะเท่ากัน แรงบิดขันแน่นที่เหมาะสมจะแตกต่างกันตามค่าสัมประสิทธิ์แรงบิด ระดับของสลักเกลียวและความยาวของสลักเกลียว4. ลักษณะการจับเครื่องมือหรือเนื้อวัสดุในต�าแหน่งที่จะขันแน่นจะมีผลต่อแรงบิด5. การใช้งานเครื่องมือที่ความเร็วต�่าจะท�าให้แรงบิดขันแน่นลดลงการบ�ารุงรักษาข้อควรระวัง: ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ปิดสวิตช์เครื่องมือและถอดตลับแบตเตอรี่ออกก่อนท�าการตรวจสอบหรือบ�ารุงรักษาข้อสังเกต: อย่าใช้น�้ามันเชื้อเพลิง เบนซิน ทินเนอร์แอลกอฮอล์ หรือวัสดุประเภทเดียวกัน เนื่องจากอาจท�าให้สีซีดจาง เสียรูป หรือแตกร้าวได้เพื่อความปลอดภัยและน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์ ควรให้ศูนย์บริการหรือโรงงานที่ผ่านการรับรองจาก Makita เป็นผู้ด�าเนินการซ่อมแซม บ�ารุงรักษาและท�าการปรับตั้งอื่นๆนอกจากนี้ให้ใช้อะไหล่ของแท้จาก Makita เสมอ