77 ภาษาไทย2(a)(b)(a)(b)(b)(a)(b)(a)(a)(b)(c) (d)11. มุมด้านใน 2. มุมด้านนอกการวัดขนาดวัดขนาดความกว้างก�าแพง และปรับความกว้างของชิ้นงานตามนั้น โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าความกว้างของขอบสัมผัสของก�าแพงของชิ้นงานเหมือนกับความยาวของก�าแพง► หมายเลข 47: 1. ชิ้นงาน 2. ความกว้างของก�าแพง3. ความกว้างของชิ้นงาน 4. ขอบสัมผัสของก�าแพงใช้ชิ้นส่วนหลายๆ ชิ้นในการตัดทดสอบเพื่อตรวจสอบมุมใบเลื่อยเสมอเมื่อท�าการตัดยอดและส่วนเว้าของแบบพิมพ์ ให้ตั้งค่ามุมเอียงและองศาการบากดังที่แสดงไว้ในตาราง (A) และวางต�าแหน่งแบบพิมพ์บนพื้นผิวด้านบนของฐานเลื่อยตามรูปในตาราง (B)ในกรณีของการตัดมุมเอียงซ้าย(a) (b) (c) (d)1 21. มุมด้านใน 2. มุมด้านนอกตาราง (A)– ต�าแหน่งแบบพิมพ์ในรูปองศามุมเอียง องศาการบากประเภท52/38°ประเภท45°ประเภท52/38°ประเภท45°ส�าหรับมุมด้านใน(a) ซ้าย33.9°ซ้าย 30° ขวา31.6°ขวา35.3°(b) ซ้าย31.6°ซ้าย35.3°ส�าหรับมุมด้านนอก(c)(d) ขวา31.6°ขวา35.3°ตาราง (B)– ต�าแหน่งแบบพิมพ์ในรูป ขอบแบบพิมพ์กับฉากน�าชิ้นที่เสร็จแล้วส�าหรับมุมด้านใน (a) ขอบสัมผัสเพดานควรติดกับฉากน�าชิ้นที่เสร็จแล้วจะอยู่ทางด้านซ้ายของใบเลื่อย(b) ขอบสัมผัสก�าแพงควรติดกับฉากน�าส�าหรับมุมด้านนอก (c) ชิ้นที่เสร็จแล้วจะอยู่ทางด้านขวาของใบเลื่อย(d) ขอบสัมผัสเพดานควรติดกับฉากน�าตัวอย่าง:ในกรณีที่ตัดแบบพิมพ์ยอดประเภท 52/38° ส�าหรับต�าแหน่ง(a) ในรูปด้านบน• เอียงและยึดการตั้งค่ามุมเอียงไว้ที่ 33.9° ซ้าย• ปรับและยึดการตั้งค่าองศาการบากไว้ที่ 31.6° ขวา• วางแบบพิมพ์ยอดโดยให้พื้นผิวด้านหลังที่กว้าง (ที่ซ่อนไว้) คว�่าไว้กับฐานหมุนโดยให้ขอบสัมผัสเพดานติดกับฉากน�าบนเลื่อย• ชิ้นที่เสร็จแล้วจะน�าไปใช้จะอยู่ทางด้านซ้ายของใบเลื่อยหลังจากท�าการตัดแล้ว